Toolbar

2024

24 items

The symbiosis between ants and aphids in nature They depend on each other very well. For example, in the picture where aphids produce honeydew and red ants come to eat them. Red ants, on the other hand, also return the nectar from the ants by guarding and protecting the aphid larvae.

This stunning image captures the raw power of nature as volcanic lightning arcs across the sky during an eruption of Taal Volcano in Batangas, Philippines. Volcanic lightning occurs when ash particles collide, creating static electricity that discharges as bolts of lightning. This phenomenon is a vivid reminder of the Earth's dynamic and powerful forces, where both geological and atmospheric processes intertwine in a spectacular display of science.

Indigenous children in a remote area of West Bengal, India, use a microscope to learn about unseen germs as part of the Raster Master (Teacher of the Streets) program. This initiative aims to provide education to tribal children who cannot attend school due to financial constraints, distance from schools, and illiterate parents. As a result of the lack of education, superstitions are widespread in the community, often leading to reliance on witch doctors for emergency healthcare, which can be fatal. Introducing technical tools like microscopes helps dispel superstitions and sparks scientific curiosity in the minds of young learners.

This image was captured at pallakadu dump, Srilanka. Reflection is the change in direction of a wavefront at an interface between two different media so that the wavefront returns into the medium from which it originated. Common examples include the reflection of light, sound and water waves. Methane gas, landfill gas contains many different gases. Methane and carbon dioxide make up 90 to 98% of landfill gas. The remaining 2 to 10% includes nitrogen, oxygen, ammonia, sulfides, hydrogenand various other gases. Landfill gases are produced when bacteria break down organic waste. Rainbows are formed when sunlight is scattered from raindrops into the eyes of an observer.

Anyone who says the past just passes and it ends. But the reality according to science is It never sleeps. Because everything we learned from our ancestors has led us to what we are today. Let us know how to change according to the advanced era. But don't forget the past where something happened. Like this fossil It is a spontaneous inscription of the shape of science.

Captured under the theme "Science is out there", this stunning image showcases an airplane journeying through a multi-colored iridescent cloud. This natural spectacle occurs due to sunlight diffracting through water droplets in the atmosphere, creating a vivid display of colors akin to a rainbow. This photograph not only highlights the beauty of atmospheric optics but also serves as a vivid reminder of the ever-present science that surrounds us, even during our routine flights across the skies.

The picture has scientific value to the extent that it serves to express the role of light and its actions on the environment. The stunning visual effect created by the beams of sunlight tearing up the mist is known as crepuscular rays, a phenomenon that can be studied within the fields of optics and atmospheric science. These rays are created when light is scattered off particles in the air, such as water droplets or dust, which makes visible the otherwise invisible pathways of sunlight. This scattering of light has a relation to principles of refraction, diffraction, and reflection and thereby shows a little about the behavior of light.

This is the origin of salt, a natural ingredient that every household cannot do without. Villagers use sticks to push seawater that has started to crystallize apart to begin the salt harvesting process. Salt farming involves drying seawater in sunlight until it evaporates into saturated salt that crystallizes. During the drying process when viewed from above, we can see that the salt fields are bright pink. The reason for this is because of a type of bacteria called Halobacterium, a type of bacteria that is pinkish-red or orange, that lives in salt water. This is why we see colorful salt fields like this.

In a rural area of Myanmar, two little kids are happily playing with a simple but clever toy that mimics the basic principle of communication. They use two small free cans connected by a thin piece of string. One child speaks into one can, and the other listens through the other can. When the string is taut, the sound travels from one can to the other, allowing the children to "talk" to each other over a short distance. This playful experiment demonstrates a fundamental idea that inspired the development of modern telephones. It’s amazing to think that such a simple toy can connect to the sophisticated technology of today’s smartphones.

On a world brimming with wonders, the spirit of exploration begins with simple moments. This photograph captures a young explorer, captivated by the minute details of a green caterpillar perched on a garden plant. Holding a magnifying glass, the child embodies the essence of curiosity that drives scientific inquiry. Science is not confined to laboratories or grand experiments but is interwoven with our everyday lives. The garden, a miniature ecosystem teeming with life, becomes a living laboratory where questions spark curiosity and observations lead to insights.

A bigfin reef squid (Sepioteuthis Lessoniana) is a vicious, highly intelligent predator. They can change skin color within seconds using cells called chromatophores. In each of the chromatophores, there is a bag full of pigments, like a balloon, that can be colored. If the balloon is stretched, the color would come together into one single spot, making the color appear brighter. Cephalopods (a class of mollusks) also have leucophores, a mirror back of the colors of the surrounding environment that makes the squid less noticeable. Apart from hiding from danger, the color patterns are used as a secret code to communicate with other squids while remaining invisible to predators.

A football field in the middle of the sea is made from plastic buoys that float on the water because they have the force of buoyancy to support them. The buoyant force is the force that keeps an object from sinking in a liquid. Objects can float on water if the force of pressure on the water is less than the force of buoyancy. This principle of buoyancy applies to heavy cargo ships, submarines, and many other types of equipment. It also helps to find the volume of objects.

The morning beauty of the golden light from the rising sun. With a balloon, tourists come to sit and admire the beautiful scenery from a high angle using a balloon, which is a vehicle used for air travel. This is based on the principle of the buoyant force of hot air being lighter than the cold air around the balloon. Balloons can float in the air because the inside of the balloon is filled with a gas that is lighter than air, such as hydrogen, helium, or hot air. Make the total density of the balloon The lower the density of the surrounding air, the balloon can remain suspended in the air.

Trains have been a mode of transportation for centuries, witnessing technological evolution across different eras. Starting with the age of steam locomotives, which emerged around the time of the world wars, these trains were powered by steam, with visible plumes of smoke billowing as they moved. As time progressed, technology advanced, leading to the development of modern trains like the Airport Rail Link. This train system is elevated above ground and powered by electricity. In the latest generation, we see the emergence of monorails. These are electrically powered as well but operate without a driver, utilizing automation and advanced control systems.

สร้างภาพนี้มาจากการศึกษาปรากฏการณ์การเคลื่อนที่ของของเหลวในสภาวะไร้น้ำหนัก ซึ่งเป็นสาขาที่สำคัญในการวิจัยทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมอวกาศ การทดลองและการสังเกตการณ์ในสภาวะไร้น้ำหนักช่วยให้นักวิทยาศาสตร์เข้าใจพฤติกรรมของของเหลวที่แตกต่างจากสภาวะปกติบนโลก ในสภาวะไร้น้ำหนัก แรงโน้มถ่วงมีผลน้อยมาก ทำให้ของเหลวสามารถรวมตัวกันเป็นทรงกลมได้เนื่องจากแรงตึงผิวเป็นแรงหลักที่กระทำต่อของเหลว แรงตึงผิวเป็นแรงที่ทำให้ของเหลวพยายามลดพื้นที่ผิวให้น้อยที่สุด ส่งผลให้ของเหลวในสภาวะไร้น้ำหนักมักมีรูปร่างเป็นทรงกลม

การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตนั้นมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ไดโนเสาร์ซอโรพอดก็เช่นเดียวกัน ทุกการเติบโตจะถูกบันทึกข้อมูลไว้ภายในกระดูก เช่น เมื่อไดโนเสาร์อยู่ในวัยเยาว์จะพบลักษณะเนื้อเยื่อปฐมภูมิ และหลอดเลือดจำนวนมาก ทำให้อัตราการเจริญเติบโตค่อนข้างรวดเร็ว (สองภาพทางขวามือ) แต่เมื่อเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ ไดโนเสาร์จะมีการลดอัตราการเจริญเติบโต ซึ่งส่วนมากจะพบเนื้อเยื่อทุติยภูมิ และการจัดเรียงของเส้นใยคอลลาเจนที่เรียงตัวอย่างเป็นระเบียบ (สองภาพทางซ้ายมือ) ดังนั้นเมื่อเราศึกษา มิญชวิทยาของกระดูกเราจะสามารถรับรู้เรื่องราวบันทึกการเติบของไดโนเสาร์ชนิดนั้น ๆ ได้

จากลักษณะทางภูมิศาสตร์ "ดอยหัวหมด" เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง จังหวัดตาก เป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาถนนธงชัยที่ทอดยาวต่อเนื่องมาจากหิมาลัย พรรณไม้ส่วนใหญ่ที่ขึ้นบริเวณนี้จึงเป็นพืชเฉพาะถิ่นและพรรณไม้หายากนานาชนิด เช่น "พิศวงตานกฮูก" ที่มีชื่อสามัญเรียกว่า "พิศวงไทยทอง" และชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Thismia thaithongiana เป็นพืชล้มลุกอาศัยราชนิดใหม่ของโลก พบในป่าเต็งรังบนเขาหินปูน มีความสูงไม่ถึง 2 มม.เป็นพืชแสนประหลาดที่มีชีวิตลี้ลับ ออกดอกในช่วงเดือนสิงหาคมถึงกันยายนเท่านั้น มีสถานภาพเป็นพันธุ์ไม้ที่ใกล้สูญพันธุ์

ภาพถ่าย 3 มิติของ รากต้นอ้อน้อย ซึ่งต้นอ้อน้อย (Phragmites australis) เป็นพืชที่นิยมใช้ในระบบกักกั้นทางชีวภาพ (Bioretention system) จึงได้มีการนำมาใช้ทดสอบการบำบัดไมโครพลาสติกที่ปนเปื้อนในน้ำทิ้ง พร้อมทั้งศึกษาการเคลื่อนที่และการสะสมของไมโครพลาสติกบริเวณรากของพืชด้วยการเตรียมตัวอย่างพืชด้วยวิธีการตัดตามขวาง (Cross section monocot root) ซึ่งไม่พบไมโครพลาสติกสะสมภายในรากพืช แต่ส่วนใหญ่พบเกาะติดบริเวณพื้นที่ผิวภายนอกของราก

ตัวอ่อนของไก่ที่มีอายุประมาณ 72 ชั่วโมงหลังจากการปฏิสนธิ (หรือประมาณ 3 วัน) ตัวอ่อนมีขนาดความยาวประมาณ 1 เซนติเมตร มีการเจริญเติบโตและพัฒนารูปร่างที่เด่นชัดขึ้น ปีกและขาของตัวอ่อนเริ่มปรากฏเป็นลักษณะของอวัยวะที่ยังไม่สมบูรณ์ อวัยวะภายในได้แก่หัวใจ ทางเดินหาร และระบบประสาท เริ่มมีการพัฒนา เซลล์ต่าง ๆ มีการเติบโตและเริ่มจัดระเบียบตามฟังก์ชันที่พวกมันจะต้องทำในอนาคต 

ฟ้าผ่าเป็นปรากฎการณ์ธรรมชาติที่เกิดจากการควบรวมปลดปล่อยประจุไฟฟ้าอิเล็คตรอน ซึ่งในการถ่ายภาพไม่มีแอปพลิเคชันไหนสามารถคำนวณได้ ไม่เหมือนการคำนวณพระจันทร์พระอาทิตย์ ซึ่งเป็นเรื่องที่ท้าทายในการถ่ายภาพมาก ฟ้าผ่าถ่ายไม่ยากแต่จะให้ผ่าตรงจุดที่เราต้องการยากมากๆๆ ซึ่งในการถ่ายภาพนี้ต้องอาศัยความพยายามอย่างมาก ซึ่งเวลาฝนตกฟ้าร้องครั้งใดต้องออกถ่าย โดยดูทิศที่ฟ้าผ่า แล้วคำนวณมุมที่เราจะตั้งกล้องให้ตรงทิศ โดยในภาพผมได้มองทิศฟ้าผ่าแล้วขับรถหามุมที่ตั้งกล้องแล้วกดถ่ายไปเรื่อย ๆ จนกว่าฟ้าจะผ่าตรงจุดที่เราต้องการ ซึ่งต้องใช้ดวงและความพยายามอย่างมากซึ่งหลายครั้งแล้วที่ไปตั้งกล้องแล้วไม่ผ่าตรงจุด

คอนแทคเลนส์เป็นวิวัฒนาการทางวิทยาศาสตร์ที่คิดค้นเพื่อแก้ปัญหาของผู้ที่มีปัญหาทางด้านสายตา ไม่ว่าจะเป็นสายตาสั้น, ยาว, เอียง ให้สะดวกต่อการดำรงชีวิตในชีวิตประจำวันโดยไม่จำเป็นต้องใส่แว่นตา แต่เมื่อวิทยาศาสตร์ได้ก้าวหน้าไปพร้อมกับความงาม แฟชั่นจึงมีการพัฒนาออกแบบสีสันของคอนแทคเลนส์ให้มีความหลากหลายเพิ่มมากขึ้น เพื่อการสวมใส่ที่หลากหลายที่ไม่จำเป็นเฉพาะผู้มีปัญหาทางสายตา

เที่ยวทะเลหน้าร้อนนี้ หาความแปลกใหม่ให้กับการถ่ายภาพวิวทิวทัศน์ด้วยของใกล้ตัว อย่างลูกแก้ว ที่มีรูปร่างกลมและโปร่งใส เปรียบเสมือนเลนส์โค้ง ส่งให้ภาพที่ปรากฎภายในลูกแก้วนั้นกลับหัว เพียงแค่เลือกฉากหลังที่ชอบบรรจงวางลูกแก้วลงอย่างมั่นคง ไม่กลิ้งไปมา เท่านี้ก็สร้างความสนุกให้กับภาพถ่ายของเราได้ง่าย ๆ

แสงอาทิตย์อัศดงตกส่งท้ายของวันหลังพระใหญ่ วัดปากน้ำภาษีเจริญ สัญลักษณ์ฝั่งธน ผ่านถนนลาดหญ้า โดยผ่านการใช้ชีวิตของประชาชนชาวฝั่งธนที่มีความจอแจของจราจรและวิถีชีวิตที่เร่งรีบทำให้เราไม่ได้เห็นความสวยงามของธรรมชาติและธรรมะ

การนำปลาหมึกแก้วมาตากแห้งด้วยแสงแดดจากดวงอาทิตย์เป็นวิธีการถนอมอาหารยืดอายุการเก็บรักษาเป็นที่นิยมใช้มานาน โดยลดความชื้นของปลาหมึกด้วยการระเหยน้ำหรือการระเหิดน้ำส่วนใหญ่ในปลาหมึกออก เพื่อยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ทุกชนิดที่เป็นสาเหตุให้ปลาหมึกเน่าเสียยับยั้งการทำงานของเอ็นไซม์หรือชะลอปฎิกิริยาต่างๆทั้งทางเคมีและทางชีวเคมี ซึ่งมีน้ำเป็นส่วนร่วมและเป็นสาเหตุให้ปลาหมึกเน่าเสียได้

โครงการประกวดภาพถ่ายวิทยาศาสตร์ "วิทย์ติดเลนส์"

อพวช. ขอเชิญชวนทุกคนร่วมกันสื่อสารวิทยาศาสตร์ ด้วยการมองสิ่งรอบตัวเป็นวิทยาศาสตร์ แล้วถ่ายภาพมาร่วมสนุกกันตาม
หัวข้อที่ทางเราตั้งเอาไว้เหมือนเป็นการแชร์ประสบการณ์ในการพบเห็นเรื่องราววิทยาศาสตร์รอบตัวแล้วมาเล่าสู่กันฟังผ่านภาพถ่าย

วิธีการส่งภาพ

ขั้นตอนการส่งภาพประกวด

1. เข้าไปที่เมนู "หัวข้อการประกวดและส่งภาพเข้าประกวด"
2. เลือกประเภท/รุ่น/หัวข้อการประกวด
3. อ่านกติกาการประกวดทั้งหมดให้ครบถ้วน
4. คลิกที่ "ส่งภาพเข้าประกวด" เพื่อเข้าสู่ลิงค์ส่งภาพ google form 

 

วิธีการโหวตภาพ

1 email เข้าโหวตได้ 1 ครั้ง ซึ่งในแต่ละครั้งจะสามารถโหวตได้อย่างน้อย 1 ภาพ และโหวตได้สูงสุดไม่เกิน 5 ภาพ

ติดต่อเรา

โทรศัพท์ 02 577 9999 ต่อ 1472 หรือ 1474

nsmphotocontest@nsm.or.th

องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
39 หมู่ 3 ถ. เลียบคลองห้า ต.คลองห้า อ.คลองหลวง
จ.ปทุมธานี 12120